Academia.eduAcademia.edu

นิยามเว็บช่วยสอน

1999, วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา ปีที่ 12 ฉบับที่ 34 เมษายน-มิถุนายน 2543 หน้า 53-56

เว็บช่วยสอนยังเป็นสื่อใหม่ที่ยังไม่เป็นที่แพร่หลาย หรือนำมาใช้เพื่อการเรียนการสอนอย่างกว้างขวางในประเทศไทย เหมือนกับสื่อการสอนสมัยใหม่หลายอย่างที่ถูกนำมาใช้อย่างมากมายจนเป็นที่รู้จักกันดีอย่างคอมพิวเตอร์ช่วยสอนหรือวีดิโอคอนเฟอร์เรนต์ คำถามที่นักการศึกษาจะต้องถูกถามเหมือนกับที่เคยถามเมื่อเวลามีสื่อใหม่ ๆ ถูกนำเข้ามาใช้ในการศึกษาว่า อะไรคือเว็บช่วยสอน ?

1  Definition of Web-Based Instruction วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา ปี ที่ 12 ฉบับที่ 34 เมษายน-มิถุนายน 2543 หน้า 53-56 เว็บช่ วยสอนยังเป็ นสื่ อใหม่ ที่ยงั ไม่ เป็ นทีแ่ พร่ หลาย หรือนามาใช้ เพือ่ การเรียนการสอน อย่างกว้างขวางในประเทศไทย เหมือนกับสื่ อการสอนสมัยใหม่ หลายอย่ างทีถ่ ูกนามาใช้ อย่ าง มากมายจนเป็ นทีร่ ้ ู จักกันดีอย่ างคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนหรือวีดิโอคอนเฟอร์ เรนต์ คาถามทีน่ ักการ ศึกษาจะต้ องถูกถามเหมือนกับทีเ่ คยถามเมื่อเวลามีสื่อใหม่ ๆ ถูกนาเข้ ามาใช้ ในการศึกษาว่ า อะไรคือ เว็บช่ วยสอน ? นิยามเว็บช่ วยสอน ในโลกแห่งเวิลด์ไวด์เว็บที่เต็มไปด้วยเว็บไซต์สารพัดแบบ ลักษณะของเว็บไซต์แบบใด ในระบบอินเทอร์ เน็ตจึงจะเรี ยกว่า เว็บช่วยสอน ถ้าพิจารณาจากนิยามของเว็บช่วยสอนของนักการ ศึกษาต่าง ๆ ที่ให้นิยามของเว็บช่วยสอนเอาไว้เช่น เป็ นโปรแกรมไฮเปอร์ มีเดียที่ช่วยในการสอน โดยการใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรของอินเทอร์เน็ต (WWW) มาสร้างให้เกิดการ เรี ยนรู ้อย่างมีความหมาย โดยส่ งเสริ มและสนับสนุนการเรี ยนรู ้ในทุกทาง (Khan, 1997) หรื อจะ บอกว่าว่า เป็ นการสอนที่นาเอาสิ่ งที่ตอ้ งการส่ งให้บางส่ วนหรื อทั้งหมดโดยอาศัยเว็บ โดย เว็บช่วยสอนสามารถกระทาได้ในหลากหลายรู ปแบบและหลายหลายขอบเขตที่เชื่ อมโยงถึงกัน ทั้งการเชื่อมต่อบทเรี ยน วัสดุช่วยการเรี ยนรู ้ และการศึกษาทางไกล (Parson, 1997) นิยามต่าง ๆ เป็ นเพียงการให้ความหมายนัยกว้าง ๆ แต่ยงั ไม่ได้เจาะจงสภาพของการเป็ นเว็บช่วยสอนอย่าง ชัดเจน ปั ญหานี้สืบเนื่องมาตั้งแต่ครั้งคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เข้ามามีบทบาทในการศึกษา และ เป็ นที่ถกเถียงกันมากว่า อย่างไรจึงจะเป็ นคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน การสอนด้วยคอมพิวเตอร์ โดย การนาเสนอเนื้อหาด้วย Power Point จะเรี ยกว่า คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนหรื อไม่ เพราะบางคน ก็บอกว่าถือเป็ นคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเพราะเป็ นการนาคอมพิวเตอร์ มาช่วยในการสอน ก็เป็ น เหตุผลที่น่ารับฟัง ในกลุ่มของนักเทคโนโลยีการศึกษามองว่า ลักษณะเช่นนั้นเป็ นเพียงการ นาคอมพิวเตอร์ มาใช้เป็ นเครื่ องมือในการสอน เหมือนเครื่ องฉายภาพข้ามศีรษะจะต้องมีแผ่น โปร่ งใสที่เป็ นข้อความหรื อเนื้อหาเพราะตัวของเครื่ องฉายภาพข้ามศีรษะเองไม่สามารถสอนอะไร ได้ 2 นักเทคโนโลยีการศึกษาชั้นนาหลายท่าน ชี้ไปถึงรากเหง้าของปั ญหาความไม่ชดั เจน ในการนิยามความหมายของ เว็บช่วยสอน มีเหตุปัจจัยจาก การเลือกใช้คาว่า คอมพิวเตอร์ ช่วย สอน ที่มาจากภาษาอังกฤษว่า Computer-Assisted Instruction ซึ่ งก็ไม่ผดิ อะไรในแง่ของตัวภาษา แต่ในแนวคิดของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนจะให้ ก็เป็ นความหมายที่ตรงกับคาไทยทุกประการ ความหมายเป็ น Computer Based Instruction โดยมี CAI เป็ นส่ วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CBI) ซึ่งเป็ นส่ วนที่ใช้ในการสอนโดยตรง (Allissi and Trollip, 1991) นักการศึกษาไทยหลาย ไทยก็ให้ความหมายของ CAI และ CBI เป็ นความหมายเดียวกัน จึงทาให้ Computer Assisted Instruction หรื อ CAI เป็ นนิ ยามที่ได้รับความนิยมเมื่อกล่าวถึงคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เมื่อมาถึงเว็บช่วยสอน ไม่มีการกล่าวถึง WAI หรื อ Web-Assisted Instruction เพราะ องค์ประกอบภายในเว็บมีปลีกย่อยมากมายเกินกว่าจะใช้คาถาม WAI ซึ่งอาจหมายความถึงเพียง หน้าจอ และไม่ใช่เป็ นเพียงคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนบนเว็บไซต์ (CAI on Web) เท่านั้น แต่เว็บ ช่วยสอนยังรวมถึงการใช้เครื่ องมือต่าง ๆ ในระบบอินเทอร์ เน็ตเข้ามาประกอบเพื่อช่วยการสอน เช่น ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (email), ห้องสนทนา (Internet Relay Chat : IRC) , กระดาษฝากข้อความ (Bulletin Board) , เครื่ องมือสื บค้น (Search Engine) และการประชุมทางไกลด้วยภาพและเสี ยง (audio and videoconferencing) เป็ นต้น ซึ่งทาให้ผเู้ รี ยนสามารถเรี ยนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา (Driscoll, 1999) มีปฏิสัมพันธ์กนั ระหว่างผูเ้ รี ยนและผูส้ อนได้ในทันทีและในแบบที่เป็ นการศึกษาทางไกล ได้ ซึ่ งคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนไม่สามารถทาได้ หรื ออาจจัดไว้เป็ นเพียงส่ วนหนึ่งของเว็บช่วยสอน เท่านั้น เว็บช่วยสอน นิยามความหมายโดยผูเ้ ขียนหมายถึง การใช้ทรัพยากรที่มีอยูใ่ นระบบ อินเทอร์ เน็ตมาออกแบบและจัดระบบเพื่อการเรี ยนการสอน สนับสนุนและส่ งเสริ มให้เกิดการ เรี ยนรู ้อย่างมีความหมาย เชื่อมโยงเป็ นเครื อข่ายที่สามารถเรี ยนได้ทุกที่ทุกเวลา ซึ่งทาให้มีชื่อเรี ยก หลายลักษณะ ได้แก่ เว็บช่วยสอน (Web-Based Instruction) เว็บฝึ กอบรม (Web-Based Training) อินเทอร์ เน็ตฝึ กอบรม (Internet-Based Training) อินเทอร์ เน็ตช่วยสอน (Internet-Based Instruction) เวิลด์ไวด์เว็บฝึ กอบรม (WWW-Based Training) เวิลด์ไวด์เว็บช่วยสอน (WWW-Based Instruction) เว็บช่วยสอนจะนิยมใช้ตวั ย่อว่า WBI (Web-based Instruction) ซึ่งเป็ นคานิยามที่สอด คล้องและเหมาะสมในการอธิบายคุณลักษณะของการใช้เว็บในระบบอินเทอร์ เน็ตเพื่อการเรี ยนการ สอนมากที่สุด 3 อะไรคือเว็บช่ วยสอน การจะบอกว่าเว็บไซต์ใดเป็ นเว็บช่วยสอนหรื อไม่ จึงต้องมีท้ งั การกาหนดลักษณะสาคัญ เบื้องต้นคือ เป็ นเว็บที่มีวตั ถุประสงค์เพื่อการศึกษา และเป็ นเว็บที่ออกแบบอย่างเป็ นระบบและ มีกระบวนการเพื่อการเรี ยนการสอน เราจะยังไม่ตดั สิ นว่าเว็บช่วยสอนนั้นมีคุณภาพดี หรื อมี ประสิ ทธิ ภาพในการสอนหรื อไม่ เพราะการแยกระหว่างการเป็ นเว็บช่วยสอนกับการเป็ นเพียงเว็บ ที่เกี่ยวกับการศึกษา หรื อฐานข้อมูลเพื่อการศึกษาเป็ นเรื่ องที่ตอ้ งพิจารณาเป็ นอันดับแรก ตัวอย่างเช่น เว็บไซต์แห่งหนึ่ งมีเนื้อหาเป็ นข้อความและภาพประกอบเรื่ องสิ่ งแวดล้อม ให้นกั เรี ยน ได้เข้าไปเรี ยนโดยใช้คอมพิวเตอร์ เข้าสู่ ระบบอินเทอร์ เน็ตแล้วนัง่ ดูที่หน้าจอภาพ เว็บไซต์แบบนี้ ถือเป็ นเว็บช่วยสอนหรื อไม่ ก่อนจะตอบคาถามข้อนี้เราต้องมาพิจารณาคุณลักษณะต่าง ๆ ประกอบ เนื่องจากระบบอินเทอร์ เน็ตมีเว็บไซต์ในแบบต่าง ๆ หลายประเภท เว็บไซต์ทางการศึกษาก็ เป็ นอีกประเภทหนึ่งที่มีอยูม่ ากในระบบ เราจะแยกแยะอย่างไรว่าเว็บไซต์แบบใดเป็ นเว็บช่วยสอน และแบบใดเป็ นเพียงเว็บไซต์ทางการศึกษา มีแนวคิดอยูห่ ลายแบบเช่น ลักษณะของเว็บสาหรับการ เรี ยนการสอนตามแนวคิดของ พาร์สัน (Parson, 1997) ได้แบ่งประเภทของเว็บช่วยสอน ออกเป็ น 3 ลักษณะคือ 1. เว็บช่วยสอนแบบรายวิชาอย่างเดียว (Stand - Alone Courses) 2. เว็บช่วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) 3. เว็บช่วยสอนแบบศูนย์การศึกษา (Web Padagogical Resources) โดยแบบที่หนึ่งและสอง เป็ นแบบที่มีแนวคิดเป็ นรายวิชาโดยรวม ขณะที่แบบที่สามจะ เป็ นในรู ปของกิจกรรมหรื อประสบการณ์ที่เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา ซึ่ งขยายความแนวคิดได้ ดังนี้คือ 1. เว็บช่วยสอนแบบรายวิชาอย่างเดียว (Stand - Alone Courses) เป็ นรายวิชาที่มีเครื่ องมือ และแหล่งที่เข้าไปถึงและเข้าหาได้โดยผ่านระบบอินเทอร์ เน็ตอย่างมากที่สุด ถ้าไม่มีการสื่ อสารก็ สามารถที่จะไปผ่าน ระบบคอมพิวเตอร์สื่อสารได้ ลักษณะของเว็บช่วยสอนแบบนี้มีลกั ษณะเป็ น แบบวิทยาเขตมีนกั ศึกษาจานวนมากที่เข้ามาใช้จริ ง แต่จะมีการส่ งข้อมูลจากรายวิชาทางไกล 2. เว็บช่วยสอนแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา (Web Supported Courses) เป็ น รายวิชาที่มีลกั ษณะเป็ น รู ปธรรมที่มีการพบปะระหว่างครู กบั นักเรี ยน และมีแหล่งให้มากเช่น การ กาหนดงานที่ให้ทาบนเว็บ การกาหนดให้อ่าน การสื่ อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรื อการมี เว็บที่สามารถชี้ตาแหน่งของแหล่งบนพื้นที่ของเว็บไซต์โดยรวมกิจกรรมต่างๆ เอาไว้ 4 3. เว็บช่วยสอนแบบศูนย์การศึกษา (Web Padagogical Resources) เป็ นชนิดของ เว็บไซต์ที่มีวตั ถุดิบ เครื่ องมือ ซึ่ งสามารถรวบรวมรายวิชาขนาดใหญ่เข้าไว้ดว้ ยกัน หรื อเป็ น แหล่งสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษา ซึ่ งผูท้ ี่เข้ามาใช้ก็จะมีสื่อให้บริ การอย่างรู ปแบบ อย่างเช่น เป็ นข้อความ, เป็ นภาพกราฟิ ก ,การสื่ อสารระหว่างบุคคล และการทาภาพเคลื่อนไหว ต่างๆ เป็ นต้น ดังนั้นถ้ามองว่า การที่เว็บไซต์มีเนื้อหาและมีภาพประกอบเรื่ องสิ่ งแวดล้อม แล้วนักเรี ยน สามารถเข้าไปดูได้ก็อาจจะมองว่า เว็บไซต์น้ นั เป็ นเว็บช่วยสอนในลักษณะการสนับสนุนรายวิชาคือ มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการสอนในวิชานั้น แต่เป็ นเพียงเว็บหน้าหนึ่งที่กาหนดไว้ให้ผเู ้ รี ยนได้เข้ามา ดูเนื้อหาหรื อภาพประกอบเหมือนกับดูหนังสื อ ผูเ้ รี ยนยังไม่มีส่วนร่ วมอื่น ๆ เช่น ซักถาม ตอบ คาถาม แสดงความคิดเห็น หรื ออภิปรายเนื้อหา ถ้ามองดูอีกแนวคิดหนึ่งของเว็บช่วยสอนโดยแยก ตามโครงสร้างและประโยชน์การใช้งานตามแนวคิดของ เจมส์ (James, 1997) สามารถแบ่งได้ 3 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ 1. โครงสร้างแบบค้นหา (Eclectic Structures) ลักษณะของโครงสร้างเว็บไซต์แบบนี้ เป็ นแหล่งของเว็บไซต์ที่ใช้ในการค้นหาไม่มีการกาหนดขนาด รู ปแบบ ไม่มีโครงสร้างที่ผเู ้ รี ยน ต้องมีปฏิสัมพันธ์กบั เว็บ ลักษณะของเว็บไซต์แบบนี้จะมีแต่การให้ใช้เครื่ องมือในการ สื บค้น หรื อเพื่อบางสิ่ งที่ตอ้ งการค้นหาตามที่กาหนด หรื อโดยผูเ้ ขียนเว็บไซต์ตอ้ งการ โครงสร้างแบบนี้จะเป็ นแบบเปิ ด ให้ผเู ้ รี ยนได้เข้ามาค้นคว้าในเนื้อหาในบริ บท โดยไม่มี โครงสร้างข้อมูลเฉพาะให้ได้เลือก แต่โครงสร้างแบบนี้จะมีปัญหากับผูเ้ รี ยนเพราะผูเ้ รี ยน อาจจะไม่สนใจข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้าง โดยไม่กาหนดแนวทางในการสื บค้น 2. โครงสร้างแบบสารานุกรม (Encyclopaedic Structures) ถ้าเราควบคุมของสร้างของ เว็บที่เราสร้างขึ้นเองได้ เราก็จะใช้โครงสร้างข้อมูลในแบบต้นไม้ในการเข้าสู่ ขอ้ มูล ซึ่ง เหมือนกับหนังสื อที่มีเนื้อหาและมีการจัดเป็ นบทเป็ นตอน ซึ่ งจะกาหนดให้ผเู ้ รี ยนหรื อ ผูใ้ ช้ ได้ผา่ นเข้าไปหาข้อมูล หรื อเครื่ องมือที่อยูใ่ นพื้นที่ของเว็บหรื ออยูภ่ ายในนอก เว็บ เว็บไซต์จานวนมากมีโครงสร้างในลักษณะดังกล่าวนี้ โดยเฉพาะเว็บไซต์ทางการศึกษาที่ ไม่ได้กาหนดทางการค้า องค์กร ซึ่ งอาจจะต้องมีลกั ษณะที่ดูมีมากกว่านี้ แต่ในเว็บไซต์ทาง การศึกษาต้องรับผิดชอบต่อการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน กลวิธีดา้ นโครงสร้างจึงมีผลต่อการเรี ยนรู ้ของ ผูเ้ รี ยน 3. โครงสร้างแบบการเรี ยนการสอน (Pedagogic Structures) มีรูปแบบโครงสร้างหลาย อย่างในการนามาสอนตามต้องการ ทั้งหมดเป็ นที่รู้จกั ดีในบทบาทของการออกแบบทางการศึกษา สาหรับคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนหรื อเครื่ องมือมัลติมีเดีย ซึ่ งความจริ งมีหลักการแตกต่างกันระหว่าง คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนกับเว็บช่วยสอน นั้นคือ ความสามารถของ HTML ในการที่จะจัดทาใน แบบไฮเปอร์ เท็กซ์ กับการเข้าถึงข้อมูลหน้าจอโดยผ่านระบบอินเทอร์ เน็ต 5 การจะบอกว่าเว็บไซต์ใดเป็ นเว็บช่วยสอนจึงมีคุณลักษณะที่ยอมรับได้คือ ต้องเป็ นเว็บไซต์ เพื่อใช้ในการเรี ยนการสอนในลักษณะต่าง ๆ ไม่วา่ เพื่อการสอนโดยตรง การสื บค้นหาข้อมูลโดย การเป็ นฐานข้อมูลการศึกษา หรื อการเป็ นแหล่งสนับสนุนเนื้อหาวิชาในด้านต่าง ๆ ในรู ปแบบของ มัลติมีเดียที่จดั ทาบนระบบอินเทอร์ เน็ตนัน่ เอง การจัดการเรี ยนการสอนโดยการใช้เว็บช่วยสอน จะมีวธิ ี การจัดที่แตกต่างไปจากการจัดการ เรี ยนการสอนตามปกติ เพราะคุณลักษณะและรู ปแบบของเว็บเป็ นสื่ อที่มีลกั ษณะเฉพาะของตนเอง ซึ่ งแตกต่างไปจากการจัดการเรี ยนการสอนด้วยสื่ อแบบอื่น ๆ นิยามความเป็ นเว็บช่วยสอนจึงต้อง คานึงถึงการออกแบบระบบการสอนที่สอดคล้องกับคุณลักษณะของเว็บ เช่น การสื่ อสารระหว่าง ผูเ้ รี ยนกับครู การสื่ อสารระหว่างผูเ้ รี ยนกับผูเ้ รี ยน ที่กระทาได้แตกต่างไปจากการเรี ยนการสอน แบบเดิมเช่น การใช้เว็บช่วยสอนสามารถสื่ อสารกันได้โดยผ่านเว็บโดยตรง ในรู ปคุยกันในห้อง สนทนา(Chat Room) การฝากข้อความบนกระดานอิเล็กทรอนิกส์หรื อกระดานข่าวสาร (Bulletin Board) หรื อจะสื่ อสารกันโดยผ่านไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) ก็สามารถกระทาได้ในระบบนี้ ความเป็ นเว็บช่วยสอนจึงไม่ใช่แค่การสร้างเว็บไซต์เนื้อหาวิชาหนึ่ง หรื อรวบรวมข้อมูล ซักเรื่ องหนึ่งแล้วบอกว่าเป็ นเว็บช่วยสอน เว็บช่วยสอนกินความหมายกว้างขวางอันเกิดจากการ รวมเอาคุณลักษณะของเว็บ โปรแกรมและเครื่ องมือสื่ อสารในระบบอินเทอร์เน็ต และการออกแบบ ระบบการเรี ยนการสอนเข้าด้วยกัน ทาให้การเรี ยนการสอนผ่านเว็บที่เข้ามาเป็ นสื่ อตัวหนึ่ง เกิด การเรี ยนรู ้ข้ ึนอย่างมีความหมาย ไม่เป็ นเพียงแค่แหล่งข้อมูลเท่านั้น บทสรุ ป เว็บช่วยสอนอาจจะเป็ นนวัตกรรมที่ยงั คงไม่เป็ นที่แพร่ หลายด้วยข้อจากัดที่มากมาย อันเกิด จากปั ญหาเดิม ๆ ในแบบเดียวกับคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน แต่เว็บช่วยสอนมีแนวโน้มที่จะเข้ามามี บทบาทสาคัญในการจัดระบบการเรี ยนการสอนเมื่อทุกอย่างพัฒนาขึ้น เว็บช่วยสอนจะเป็ นระบบ การเรี ยนการสอนแบบก้าวกระโดดที่ล้ าหน้าสื่ ออื่น ๆ เพราะสามารถเอาความสามารถของสื่ อต่าง ๆ เข้ามาใช้ภายในตัวของเว็บไซต์ท้ งั ภาพและเสี ยง รวมทั้งระบบสื่ อสารต่าง ๆ ในแบบการศึกษา ทางไกล ที่สื่อในรู ปแบบอื่น ๆ ทาไม่ได้ เช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนก็จะเป็ นเพียงส่ วนหนึ่ง ของเว็บช่วยสอน เสมือนเครื่ องมือตัวหนึ่งในระบบอินเทอร์ เน็ต ที่จะนาผูเ้ รี ยนที่เชื่อมโยงได้ทว่ั โลก และเข้าเรี ยนได้ทุกที่ทุกเวลา เกีย่ วกับผู้เขียน ปรัชญนันท์ นิลสุ ข ศษ.บ., กศ.ม. (เทคโนโลยีทางการศึกษา) อาจารย์ 1 วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงคราม 6 นิสิตปริ ญญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื่ อสารการศึกษา ภาควิชาโสตทัศนศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย E-mail : [email protected] Home Page https://campus.fortunecity.com/purdue/219/index.html บรรณานุกรม Allissi, Stephen M. and Trollip, Stanley R. Computer-Based Instruction : Methods and Development. New Jersey : Prentice Hall, 1991. Driscoll, M. Myths and Realities of Using WBT to Deliver Training Worldwide. Journal of Performance Improvement. 38(3) : March 1999 ; 37-44. James, D. Design Methodology for a Web-Based Learning Environment ,1997. URL : https://www.lmu.ac.uk/lss/staffsup/desmeth.htm Khan, Badrul H. Web-Based Instruction. Englewood Cliffs, New Jersey : Educational Technology Publications, 1997. Parson, R. Definition of Web-based Instruction, 1997. URL : https://www.oise.on.ca/~rperson/difinitn.htm