ข้ามไปเนื้อหา

พิซีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พิซีน[1]
Skeletal formula
Ball-and-stick model
ชื่อ
IUPAC name
Dibenzo[a,i]phenanthrene
ชื่ออื่น
Picene
3,4-Benzchrysene
β,β-Binaphthylene ethene
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.005.381 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
KEGG
  • InChI=1S/C22H14/c1-3-7-17-15(5-1)9-11-21-19(17)13-14-20-18-8-4-2-6-16(18)10-12-22(20)21/h1-14H checkY
    Key: GBROPGWFBFCKAG-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/C22H14/c1-3-7-17-15(5-1)9-11-21-19(17)13-14-20-18-8-4-2-6-16(18)10-12-22(20)21/h1-14H
    Key: GBROPGWFBFCKAG-UHFFFAOYAN
  • c5c3c2ccc1ccccc1c2ccc3c4ccccc4c5
คุณสมบัติ
C22H14
มวลโมเลกุล 278.33 g/mol
ความหนาแน่น ? g/cm3
จุดหลอมเหลว 366-367 °C
จุดเดือด 518-520 °C
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

พิซีน (Picene) เป็นไฮโดรคาร์บอนที่พบในเรซิน และ ในถ่านหิน น้ำมันดินและปิโตรเลียม เตรียมได้จากปฏิกิริยาของ anhydrous aluminium chloride กับส่วนผสมของ แนฟทาลีน และ 1,2-Dibromoethane หรือโดยการกลั่น a-dinaphthostilbene เมื่อตกผลึกจะไม่มีสีแต่จะเรืองแสงสีน้ำเงิน ละลายในกรดซัลฟิวริกเข้มข้น ได้สารละลายสีเขียว กรดโครมิก ใน กรดอะซีติกเข้มข้นจะออกซิไดส์พิซีนไปเป็น picene-quinone, picene-quinone carboxylic acid, และเป็น phthalic acid ในที่สุด

เมื่อทำปฏิกิริยากับ โพแทสเซียม หรือ รูบิเดียม ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 18 K พิซีนจะมีคุณสมบัติเป็นตัวนำยิ่งยวด [2]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Merck Index, 11th Edition, 7368.
  2. Das, Saswato (March 2010), "Hydrocarbon Superconductor Discovered", IEEE Spectrum

Public Domain บทความนี้ ประกอบด้วยข้อความจากสิ่งพิมพ์ซึ่งปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติChisholm, Hugh, บ.ก. (1911). สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. {{cite encyclopedia}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)