โมฮัมหมัด เซีย อุล ฮัก
หน้าตา
ร.ม.ภ. โมฮัมหมัด เซีย อุล ฮัก | |
---|---|
محمد ضیاء الحق | |
โมฮัมหมัด เซีย อุล ฮัก | |
ประธานาธิบดีปากีสถานคนที่ 6 | |
ดำรงตำแหน่ง 16 กันยายน ค.ศ.1978 – 17 สิงหาคม ค.ศ.1988 | |
นายกรัฐมนตรี | Muhammad Khan Junejo |
ก่อนหน้า | Fazal Ilahi Chaudhry |
ถัดไป | Ghulam Ishaq Khan |
เสนาธิการทหารบก | |
ดำรงตำแหน่ง 1 มีนาคม ค.ศ.1976 – 17 สิงหาคม ค.ศ.1988 | |
ก่อนหน้า | Tikka Khan |
ถัดไป | Mirza Aslam Beg |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 12 สิงหาคม ค.ศ. 1924 Jalandhar, แคว้นปัญจาบ, บริติชราช (ปัจจุบันคือรัฐปัญจาบ) |
เสียชีวิต | 17 สิงหาคม ค.ศ. 1988 Bahawalpur, แคว้นปัญจาบ, ปากีสถาน | (64 ปี)
ที่ไว้ศพ | Faisal Mosque |
เชื้อชาติ | ชาวบริติชราช (1924–1947) ชาวปากีสถาน (1947–1988) |
คู่สมรส | Begum Shafiq Zia (1950–1988; เขาตาย)[1] |
บุตร | 5 (รวมถึงMuhammad Ijaz-ul-Haq) |
ศิษย์เก่า | St. Stephen's College, Delhi United States Army Command and General Staff College |
ชื่อเล่น | Mard-e-Momin |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | อินเดีย ปากีสถาน |
สังกัด | British Indian Army กองทัพบกปากีสถาน |
ประจำการ | 1943–1988 |
ยศ | พลเอก |
หน่วย | 22 Cavalry, Army Armoured Corps (PA – 1810) |
บังคับบัญชา | 2nd Independent Armoured Brigade 1st Armoured Division II Strike Corps Chief of Army Staff |
ผ่านศึก | สงครามโลกครั้งที่สอง Indo-Pakistani War of 1965 สงครามโซเวียต–อัฟกานิสถาน |
พลเอก โมฮัมหมัด เซีย อุล ฮัก (ปัญจาบ, อูรดู: محمد ضياء الحق; 12 สิงหาคม พ.ศ. 2467 – 17 สิงหาคม พ.ศ. 2531) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 6 ของประเทศปากีสถานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 จนกระทั่งถึงแก่กรรมใน พ.ศ. 2531 มีการประกาศกฎอัยการศึกเป็นครั้งที่ 3 ในประวัติศาสตร์ของประเทศในปี พ.ศ. 2520 เขาเป็นประมุขแห่งรัฐที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดของปากีสถาน ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 11 ปี เขาถูกตั้งข้อสังเกตมากที่สุดสำหรับความพยายามของเขาที่จะทำให้ประเทศปากีสถานให้เป็นรัฐอิสลามและสังคม"อิสลามานุวัฒน์" และในนโยบายด้านการต่างประเทศสำหรับความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสหรัฐอเมริกา และการสนับสนุนกลุ่มต่อต้านมูจาฮีดีนกับโซเวียตในอัฟกานิสถาน[2][3][4]
เครื่องอิสริยาภรณ์
[แก้]เครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศต่างประเทศ
[แก้]- จอร์แดน :
- สหราชอาณาจักร :
- ไทย :
- พ.ศ. 2530 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นมงคลยิ่งราชมิตราภรณ์ (ร.ม.ภ.)[5]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ https://www.dailytimes.com.pk/default.asp?page=2008story_16-3-2008_pg3_3 https://web.archive.org/web/20170215124259/https://www.dailytimes.com.pk/default.asp?page%3D2008%5C%5C05%5C%5C30%5C%5Cstory_30-5-2008_pg7_56&date=2009-09-04. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 February 2017. สืบค้นเมื่อ 12 February 2017.
{{cite web}}
:|title=
ไม่มีหรือว่างเปล่า (help) - ↑ Talbot, Ian (1998). Pakistan, a Modern History. NY: St.Martin's Press. pp. 245.
Pakistan during the period 1977-1988 ... aspired to be an ideological state... the goal of an Islamic state was deemed to be its main basis.
- ↑ Wynbrandt, James (2009). A Brief History of Pakistan. Facts on File. p. 216.
In hist first speech to the natin, Zia pledged the government would work to create a true Islamic society.
- ↑ Ḥaqqānī, Husain (2005). Pakistan: between mosque and military. Washington: Carnegie Endowment for International Peace. p. 131. ISBN 0-87003-214-3. สืบค้นเมื่อ 23 May 2010.
Zia ul-Haq is often identified as the person most responsible for turning Pakistan into a global center for political Islam. Undoubtedly, Zia went farthest in defining Pakistan as an Islamic state, and he nurtured the jihadist ideology ...
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ แก่ชาวต่างประเทศ พลเอก โมฮัมหมัด เซีย อุล ฮัก ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน เก็บถาวร 2014-12-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๐๔, ตอน ๒๒๓ ง, ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๐, หน้า ๗๕๕๘