กองทัพอากาศสหรัฐ
กองทัพอากาศสหรัฐ | |
---|---|
United States Air Force | |
เครื่องหมายราชการกองทัพอากาศสหรัฐ | |
ประจำการ | 18 กันยายน 1947 |
ประเทศ | สหรัฐ |
รูปแบบ | กองทัพอากาศ |
บทบาท | การต่อสู้บนอากาศ และโลกไซเบอร์ |
กำลังรบ | นายทหารอากาศประจำการ 320,812 นาย พลเรีอนประจำการ 141,880 คน[1] กำลังสำรอง 69,200 นาย[2] นายทหารแอร์เนชั่นแนลการ์ด 105,700 นาย[3] อากาศยาน 5,047 ลำ[4] ดาวเทียม 406 ดวง[5] |
ขึ้นกับ | Department of Defense |
Headquarters | เดอะเพนตากอน เคานตีอาร์ลิงตัน, รัฐเวอร์จิเนีย, ประเทศสหรัฐ |
คำขวัญ | "Aim High ... Fly-Fight-Win"[6] "Integrity first, Service before self, Excellence in all we do"[7] |
Colors | สีฟ้าคราม, สีเหลืองทอง[8] |
เพลงหน่วย | ดิยูเอสแอร์ฟอร์ด |
วันสถาปนา | 18 กันยายน |
ปฏิบัติการสำคัญ | |
เว็บไซต์ | www www |
ผู้บังคับบัญชา | |
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด | ประธานาธิบดี โจ ไบเดิน |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม | ลอยด์ ออสติน |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทหารอากาศ | จอห์น พี. รอธ |
เสนาธิการทหาร | พล.อ.อ. ชาร์เลต คิว. บราวน์ เจอาร์. |
รองเสนาธิการทหาร | พล.อ.อ. เดวิต ดับเบิ้ลยู. ออลวิน |
พันจ่าอากาศเอกแห่งกองทัพอากาศ | คาเลธ โอ. ไวร์ |
เครื่องหมายสังกัด | |
ธง | |
ตรากระทรวงทหารอากาศสหรัฐ | |
เครื่องหมายอากาศยาน | |
สัญลักษณ์ | |
Aircraft flown | |
Attack | A-10, AC-130, MQ-1, MQ-9 |
เครื่องบินทิ้งระเบิด | B-1B, B-2, B-52H |
การสงครามอิเล็กทรอนิกส์ | E-3, E-8, EC-130 |
Fighter | F-15C, F-15E, F-16, F-22, F-35A |
เฮลิคอปเตอร์ | HH-60, UH-1N |
Reconnaissance | MC-12, RC-135, RQ-4, RQ-170, U-2, U-28 |
Trainer | T-1, T-6, T-38, T-41, T-51, T-53, TG-16 |
Transport | C-5, C-12, C-17, C-21, C-32, C-37, C-130, C-40, CV-22, VC-25 |
Tanker | KC-10, KC-135 |
กองทัพอากาศสหรัฐ (อังกฤษ: United States Air Force; USAF) คือกองกำลังพิเศษทางอากาศของกองทัพสหรัฐ และเป็นกองกำลังหนึ่งในเจ็ดของหน่วยงานที่ใส่เครื่องแบบของสหรัฐ ในอดีตวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2450 ยูเอสเอเอฟเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพสหรัฐ ในเวลาต่อมายูเอสเอเอฟได้แยกตัวออกมาจากกองทัพสหรัฐและได้ก่อตั้งเป็นกองกำลังใหม่ เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2490 ตามรัฐบัญญัติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ ค.ศ. 1947 ทำให้ยูเอสเอเอฟเป็นกองกำลังในกองทัพสหรัฐ รองจากกองทัพอวกาศสหรัฐ ซึ่งเป็นหน่วยงานใหม่ล่าสุด ปัจจุบันยูเอสเอเอฟได้เป็นกองทัพอากาศที่ใหญ่ที่สุดและมีเทคโนโลยีมากที่สุดในโลก จากข้อความนี้ได้สะท้อนถึงภารกิจหลักของยูเอสเอเอฟ ซึ่งก็มีการปกป้องน่านฟ้า, การคุกคามจากอวกาศ, ยุทธศาสตร์การทิ้งระเบิด, การย้ายพลที่รวดเร็ว และการเป็นผู้นำหรือผู้บัญชาการ
กองทัพอากาศสหรัฐเป็นหน่วยงานที่ถูกควบคุมดูแลโดยกระทรวงทหารอากาศสหรัฐ, ซึ่งกระทรวงทหารอากาศสหรัฐเป็นหนึ่งในสามกระทรวงที่ขึ้นต่อกระทรวงกลาโหมสหรัฐ ยูเอสเอเอฟมีผู้บริหารสูงสุดคือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทหารอากาศ ซึ่งวิธีการแต่งตั้งคือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมจะต้องส่งคำร้องไปยังประธานาธิบดี ถ้าประธานาธิบดีกับวุฒิสภาเห็นชอบก็จะได้รับการแต่งตั้ง เจ้าหน้าที่ทหารที่มียศสูงสุดในกองกำลังจะเป็นเสนาธิการทหารอากาศ, ซึ่งจะทำหน้าที่ควบคุมดูแลหน่วยงานต่าง ๆ ในยูเอสเอเอฟ และเป็นหนึ่งในสมาชิกของคณะเสนาธิการร่วม การรบทางอากาศหรือการเคลื่อนย้ายพลจะต้องได้รับการอนุมัติจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมก่อนเท่านั้น ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทหารอากาศหรือเสนาธิการทหารอากาศไม่มีสิทธิ์ในการอนุมัติ
นอกจากการปกป้องน่านฟ้าและอวกาศแล้ว ยูเอสเอเอฟยังคอยสนับสนุนกองกำลังในกองทัพสหรัฐ คือ กองทัพบกสหรัฐ และกองทัพเรือสหรัฐ หรือไม่ก็ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บทางอากาศ ในปี พ.ศ. 2560 อากาศยานในยูเอสเอเอฟมีทั้งหมด 5,369 ลำ, มีขีปนาวุธข้ามทวีป 406 ลูก และดาวเทียม 170 ชิ้น ซึ่งมีราคา 161 พันล้านดอลลาร์ ยูเอสเอเอฟมีจำนวนคนในกองกำลังเป็นอันดับสองของโลก โดยที่มีกำลังพลประจำการ 318,415 คน, สำรองอีก 69,200 คน และรักษาความปลอดภัย 105,700 คน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Air Force Personnel Demographics". Air Force Personnel Center. af.mil. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 October 2016.
- ↑ "Department of Defense (DoD) Releases Fiscal Year 2017 President's Budget Proposal". U.S. Department of Defense. 9 February 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 February 2016. สืบค้นเมื่อ 11 February 2016.
- ↑ "Air Force Magazine" (PDF). Air Force Magazine. May 2012. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 14 September 2012.
- ↑ "World Air Forces 2018". Flightglobal: 17. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 มิถุนายน 2018. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2018.
- ↑ "Air Force Arsenal of Land-Based Nukes Shrinking as Planned". Associated Press. 20 March 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 March 2017. สืบค้นเมื่อ 20 March 2017.
- ↑ "Aim High ... Fly-Fight-Win to be Air Force motto USAF". United States Air Force. 7 ตุลาคม 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 มกราคม 2018. สืบค้นเมื่อ 19 ตุลาคม 2010.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-08-29. สืบค้นเมื่อ 2018-03-17.
- ↑ "The Air Force Flag" (PDF). Air Force Historical Research Agency. United States Air Force. 24 March 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2 September 2013. สืบค้นเมื่อ 7 August 2017.
- ↑ https://static.e-publishing.af.mil/production/1/af_a1/publication/afi34-1201/afi34-1201.pdf
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Official USAF site
- Official USAF Recruiting site
- Air Force Blue Tube page on youtube.com
- Air Force Live official blog เก็บถาวร 2013-10-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- อื่น ๆ
- Searchable database of Air Force historical reports
- USAF emblems
- USAF Communications Troops
- Members of the US Air Force on RallyPoint
- Aircraft Investment Plan, Fiscal Years (FY) 2011–2040, Submitted with the FY 2011 Budget
- National Commission on the Structure of the Air Force: Report to the President and the Congress of the United States