Papers by Hunter I Watson
Defining Dvāravatī: Essays from the U Thong International Workshop 2017, 2020
Phu Hang Nak Site No. 2 is an archaeological site on a hill to the west of the ancient settlement... more Phu Hang Nak Site No. 2 is an archaeological site on a hill to the west of the ancient settlement of U Thong, located in what is now central Thailand. Excavations in 2016 unearthed clay sherds, bricks, and fragments of terracotta Buddha images. Among these, three lidded vessels where found which contained Buddhist clay tablets. Of the 139 clay tablets recovered, one tablet was found to bear an inscription, composed in the Old Mon language, which is presented in this paper. This artifact is notable as it is the first recorded inscription from U Thong composed in the Old Mon language, a language found to be used in numerous inscriptions datable to the first millennium which have been found scattered throughout central and northeastern Thailand.
Journal of the Siam Society, 2020
This book is a collection of articles relating to inscriptions and epigraphic studies in Southeas... more This book is a collection of articles relating to inscriptions and epigraphic studies in Southeast Asia, composed primarily in English with some articles in French. It includes eighteen articles, authored by seventeen scholars, with an introduction by the editor. This publication followed a workshop held in Malaysia in 2011, and is a collective volume by scholars presenting overviews of inscriptions in their areas of expertise. The texts are followed by a combined bibliography, an index, abstracts of the articles, and short biographies of each author. The volume includes numerous color photographs throughout.
บทความนี้นำเสนอจารึกจากประเทศไทยซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับลพบุรี จารึกเหล่านี้แบ่งได้เป็นสองกลุ่ม ค... more บทความนี้นำเสนอจารึกจากประเทศไทยซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับลพบุรี จารึกเหล่านี้แบ่งได้เป็นสองกลุ่ม คือ จารึกที่พบที่ลพบุรีและจังหวัดใกล้เคียง กับจารึกที่พบในบริเวณอื่นๆ ของประเทศไทย แต่ในปัจจุบันเก็บไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ อ.เมือง จ.ลพบุรี ซึ่งได้กลายเป็นศูนย์จัดเก็บวัตถุโบราณที่เกี่ยวกับทวารวดีและพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภาคกลางของประเทศไทย จารึกภาษามอญโบราณในประเทศไทยสามารถแบ่งออกได้เป็นสามยุคตามรูปแบบอักษรและสถานที่พบ และจารึกที่นำเสนอในบทความนี้จะแบ่งเป็นสามยุคตามนั้น บทความนี้จะนำเสนอวัตถุโบราณที่มีจารึกจำนวนทั้งหมด 25 ชิ้น ในจำนวนนี้ มีวัตถุโบราณบางชิ้นซึ่งนักวิชาการท่านอื่นเคยกล่าวว่ามีจารึกเป็นภาษามอญโบราณ แต่ที่ผู้วิจัยเชื่อว่าไม่ได้เป็นภาษามอญโบราณ มีจารึกบางชิ้นซึ่งนักวิชาการท่านอื่นกล่าวว่าไม่ได้เขียนเป็นภาษามอญโบราณ แต่ผู้วิจัยเชื่อว่าตามข้อเท็จจริงแล้วเป็นภาษามอญโบราณ นอกจากนี้ ยังมีวัตถุโบราณอีกหลายชิ้นที่ไม่เคยได้รับการศึกษามาก่อนซึ่งผู้วิจัยเชื่อว่าเขียนเป็นภาษามอญโบราณอีกด้วย
Tonle Snguot is an 11th/12th century CE hospital site at the northern gate of Angkor Thom, Siem R... more Tonle Snguot is an 11th/12th century CE hospital site at the northern gate of Angkor Thom, Siem Reap, Cambodia. It was partially excavated by an international team from the Nalanda-Sriwijaya Centre (NSC), APSARA Authority, and East Asia Summit (EAS) training participants in 2017. This was part of an EAS research and training mission supported by the Ministry of Foreign Affairs (MFA), Singapore, the NSC and the ISEAS-Yusof Ishak Institute. Statuary and habitation remains were recovered. Cursory analysis is provided throughout the report - ranging from large-scale settlement concerns to smaller-scale "hospital-compound" and artifact-specific topics. The following report is intended to provide theoretical, methodological, and 'ancient Angkorian medical industry' data, information and speculations. Several sections are theory-method focused while other sections provide descriptive results. The overall intent was to explore and identify habitation sites related to the hospital compound. Historic and archaeological 'narratives' are often very different, but increasingly conceived as complementary.
Advancing Southeast Asian Archaeology 2016: Selected Papers from the Second SEAMEO SPAFA International Conference on Southeast Asian Archaeology, Bangkok, Thailand 2016, 2018
This article will present a group of baked clay artefacts which are today scattered across variou... more This article will present a group of baked clay artefacts which are today scattered across various locations in Thailand, and which can be argued as all originating from the archaeological site at Tap Chumphon in Nakhon Sawan Province. Of the sixteen artefacts identified, eight bear similar, bilingual inscriptions written in Pali and Old Mon. These inscriptions are written in the commonly laballed "Post-Pallava" script, and based on palaeographic evidence have been dated roughly to the 8th-9th centuries CE. The Pali portion is the Ye Dhammā verse, which is often inscribed on artefacts in Southeast Asia. The Mon portion states that merit was accrued by a donor for the supposed construction of a temple building, probably a pavilion or resthouse. This article will provide readings and translations for these inscriptions and will discuss the implications of this find, which show Tap Chumpon to be a unique settlement and indicate for contact with other communities in northeastern Thailand and with the Khmer culture.
บทความนี้ศึกษาเกี่ยวกับจารึกภาษามอญโบราณที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ภาษามอญเป็นภาษ... more บทความนี้ศึกษาเกี่ยวกับจารึกภาษามอญโบราณที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ภาษามอญเป็นภาษาหนึ่งในตระกูลภาษามอญ-เขมร และเป็นภาษาที่ชนชั้นปกครองได้ใช้ในเมืองต่างๆ ในประเทศไทยในสมัยโบราณ ทั้งในภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ในบทความนี้จะมีการอธิบายรูปแบบอักษรที่ใช้เขียนจารึกภาษามอญโบราณที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งจารด้วยรูปแบบอักษรหลังปัลลวะ ซึ่งได้ใช้ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 13-15 ถึงแม้ว่าจารึกภาษามอญโบราณจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่จะไม่ปรากฏปีศักราช ยังมีจารึกชิ้นหนึ่งซึ่งปรากฏปี 693 มหาศักราช หรือปีพุทธศักราช 1314
จารึกภาษามอญโบราณที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือปรากฏอยู่บนวัตถุโบราณบางประเภทคือหินและดินเผา ตัวอย่างเช่น จารึกบนหินมีทั้งใบเสมาและพระพุทธรูปยืน จารึกบนดินเผามักจะเป็นพระพิมพ์ ซึ่งอาจเขียนตัวอักษรลงในเนื้อดินหรือเขียนด้วยหมึกสีแดง ในบทความนี้ จะนาเสนอจารึกตามสถานที่พบ ซึ่งกระจัดกระจายทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้มีการพบจารึกภาษามอญโบราณในหลายจังหวัด ได้แก่ จ.นครราชสีมา จ.มหาสารคาม จ.ชัยภูมิ จ.ขอนแก่น จ.กาฬสินธุ์ จ.อุดรธานี และ จ.สกลนคร บทความนี้จะอธิบายจารึกที่พบตามแต่ละสถานที่ พร้อมเสนอคาอ่านและคาแปลจารึกบางชิ้นเพื่อเป็นตัวอย่าง นอกจากนี้ มีจารึกบางชิ้นซึ่งถูกพบใหม่และผู้วิจัยยังไม่ได้ศึกษา พบที่ จ.เพชรบูรณ์ และ จ.นครพนม และยังมีจารึกภาษามอญโบราณอีกซึ่งพบในประเทศลาว
บทความนี้จะกล่าวถึงอุปสรรคบางเรื่องที่มีอยู่ในปัจจุบันเกี่ยวกับจารึกภาษามอญโบราณ อุปสรรคดังกล่าวเกี่ยวข้องกับสถานที่เก็บรักษาวัตถุโบราณในสมัยปัจจุบัน และระบบทะเบียนของพิพิธภัณฑ์ ท้ายบทความนี้ปรากฏรายชื่อจารึกทั้งหมดที่ได้ศึกษาในงานวิจัย วัตถุโบราณที่นามาศึกษามีจานวน 62 ชิ้น ซึ่งมีจานวน 36 ชิ้นที่ยืนยันได้แล้วว่าเขียนเป็นภาษามอญโบราณ อีก 24 ชิ้นพิจารณากันว่าอาจเขียนเป็นภาษามอญโบราณ และอีก 2 ชิ้นเคยมีการกล่าวกันว่าเป็นภาษามอญโบราณ แต่ในงานวิจัยนี้ได้พิจารณาว่าอาจเขียนเป็นภาษาสันสกฤต
This paper will provide an overview of a Mon language palm-leaf manuscript text entitled the Lakk... more This paper will provide an overview of a Mon language palm-leaf manuscript text entitled the Lakkhaṇa Pi (လကၡဏပိ), or "Three Characteristics", which is based on the Buddhist principle of the Three Marks of Existence, also known as the Three Marks of Conditioned Arising. The Lakkhaṇa Pi is a philosophical text written in verse and meant to educate adults about the reality of life; in some villages it was commonly used as a teaching tool for novice monks learning reading and writing, as well as the philosophical principles of Buddhism. The word "Lakkhaṇa" is a Pali word meaning "characteristics", and the word "Pi" is the Mon word for the number three. The concept is derived from the Buddhist tradition, the original term being "Trilakṣaṇa" in Sanskrit and "Tilakkhaṇa" in Pali, which refers to the three marks of conditioned arising, being: (1) S.anitya / P.anicca, (2) S.duḥkha / P.dukkha, and (3) S.anātman / P.anatta. These concepts can be defined as (1) impermanence, (2) suffering, and (3) soullessness.
The Lakkhaṇa Pi text was originally composed around one hundred year ago by a Mon monk who was serving as abbot of a Mon temple in Thonburi. Later, he moved to be the abbot of a Mon temple at Pak Kret, in Nonthaburi Province. That temple was a communication hub between Mon communities in central Thailand, which is the probable reason for the dissemination of the Lakkhaṇa Pi text among other communities, including the Mon community at Ban Muang, from where I obtained a copy of a manuscript. In the region of Ban Muang, the Lakkhaṇa Pi text is well known by the villagers, and is recited at various social functions, as well as being used as an educational text for novice monks.
This paper presents the Old Mon inscriptions of Haripunjaya in northern Thailand. Numerous inscr... more This paper presents the Old Mon inscriptions of Haripunjaya in northern Thailand. Numerous inscriptions were discovered and studied in the early twentieth century, and in more recent decades there have been additional inscriptions discovered, some of which have received little or no scholarly attention. Interestingly, by a careful study of these inscriptions, numerous place names can be identified, which are arguably the ancient place names for various archaeological sites in the Chiang Mai-Lamphun Basin. Many of these place names can be easily identified by the common verbs and prepositions, as will be explained. Some place names occur in multiple inscriptions, although earlier attempts to translate these inscriptions missed this fact, as the place names appear with different spellings.
บทความนี้ศึกษาจารึกเวียงเถอะ ซึ่งเป็นหลักศิลาจารึกชิ้นหนึ่งที่พบในจังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันเก็บร... more บทความนี้ศึกษาจารึกเวียงเถอะ ซึ่งเป็นหลักศิลาจารึกชิ้นหนึ่งที่พบในจังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเชียงใหม่ ซึ่งได้อยู่ที่พิพิธภัณฑ์เป็นเวลาเป็นหลายสิบปีแล้ว แต่ยังไม่ได้รับการศึกษาเนื่องจากว่าสภาพของวัตถุโบราณทำให้อ่านยาก ดังนั้น พิพิธภัณฑ์เชียงใหม่ได้จัดเสวนาวิชาการให้นักวิจัยจะได้นำความรู้เกี่ยวกับจารึกหลักนี้และเสนอคำอ่านและคำแปล ผู้วิจัยได้เสนอคำอ่านและคำแปล และสิ่งที่น่าสนใจคือในจารึกได้ปรากฏชื่อสถานที่ ซึ่งอาจจะเป็นชื่อเดิมของโบราณสถานที่อยู่บริเวณเวียงเถอะ
บทความนี้เป็นการสรุปข้อมูลบางส่วนจากวิทยานิพนธ์ของผู้วิจัย เรื่อง การศึกษารูปคาภาษามอญโบราณจากจาร... more บทความนี้เป็นการสรุปข้อมูลบางส่วนจากวิทยานิพนธ์ของผู้วิจัย เรื่อง การศึกษารูปคาภาษามอญโบราณจากจารึกที่พบในประเทศไทยระหว่างพุทธศตวรรษที่ 12-17 ในบทความนี้ ผู้วิจัยนาเสนอความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับจารึกภาษามอญโบราณที่พบในประเทศไทย และผู้วิจัยได้กล่าวถึงการแบ่งจารึกภาษามอญโบราณเป็นกลุ่มย่อยตามยุค สถานที่พบ และรูปแบบอักษรที่ใช้ รวมถึงคาศัพท์ที่ใช้และวิธีการสะกดคาศัพท์ นอกจากนี้ ผู้วิจัยได้กล่าวถึงจารึกบางชิ้นที่ไม่รวมในงานศึกษาของผู้วิจัย และเสนอข้อคิดว่ายังไม่มีการพบจารึกภาษามอญโบราณอยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย
Uploads
Papers by Hunter I Watson
จารึกภาษามอญโบราณที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือปรากฏอยู่บนวัตถุโบราณบางประเภทคือหินและดินเผา ตัวอย่างเช่น จารึกบนหินมีทั้งใบเสมาและพระพุทธรูปยืน จารึกบนดินเผามักจะเป็นพระพิมพ์ ซึ่งอาจเขียนตัวอักษรลงในเนื้อดินหรือเขียนด้วยหมึกสีแดง ในบทความนี้ จะนาเสนอจารึกตามสถานที่พบ ซึ่งกระจัดกระจายทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้มีการพบจารึกภาษามอญโบราณในหลายจังหวัด ได้แก่ จ.นครราชสีมา จ.มหาสารคาม จ.ชัยภูมิ จ.ขอนแก่น จ.กาฬสินธุ์ จ.อุดรธานี และ จ.สกลนคร บทความนี้จะอธิบายจารึกที่พบตามแต่ละสถานที่ พร้อมเสนอคาอ่านและคาแปลจารึกบางชิ้นเพื่อเป็นตัวอย่าง นอกจากนี้ มีจารึกบางชิ้นซึ่งถูกพบใหม่และผู้วิจัยยังไม่ได้ศึกษา พบที่ จ.เพชรบูรณ์ และ จ.นครพนม และยังมีจารึกภาษามอญโบราณอีกซึ่งพบในประเทศลาว
บทความนี้จะกล่าวถึงอุปสรรคบางเรื่องที่มีอยู่ในปัจจุบันเกี่ยวกับจารึกภาษามอญโบราณ อุปสรรคดังกล่าวเกี่ยวข้องกับสถานที่เก็บรักษาวัตถุโบราณในสมัยปัจจุบัน และระบบทะเบียนของพิพิธภัณฑ์ ท้ายบทความนี้ปรากฏรายชื่อจารึกทั้งหมดที่ได้ศึกษาในงานวิจัย วัตถุโบราณที่นามาศึกษามีจานวน 62 ชิ้น ซึ่งมีจานวน 36 ชิ้นที่ยืนยันได้แล้วว่าเขียนเป็นภาษามอญโบราณ อีก 24 ชิ้นพิจารณากันว่าอาจเขียนเป็นภาษามอญโบราณ และอีก 2 ชิ้นเคยมีการกล่าวกันว่าเป็นภาษามอญโบราณ แต่ในงานวิจัยนี้ได้พิจารณาว่าอาจเขียนเป็นภาษาสันสกฤต
The Lakkhaṇa Pi text was originally composed around one hundred year ago by a Mon monk who was serving as abbot of a Mon temple in Thonburi. Later, he moved to be the abbot of a Mon temple at Pak Kret, in Nonthaburi Province. That temple was a communication hub between Mon communities in central Thailand, which is the probable reason for the dissemination of the Lakkhaṇa Pi text among other communities, including the Mon community at Ban Muang, from where I obtained a copy of a manuscript. In the region of Ban Muang, the Lakkhaṇa Pi text is well known by the villagers, and is recited at various social functions, as well as being used as an educational text for novice monks.
จารึกภาษามอญโบราณที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือปรากฏอยู่บนวัตถุโบราณบางประเภทคือหินและดินเผา ตัวอย่างเช่น จารึกบนหินมีทั้งใบเสมาและพระพุทธรูปยืน จารึกบนดินเผามักจะเป็นพระพิมพ์ ซึ่งอาจเขียนตัวอักษรลงในเนื้อดินหรือเขียนด้วยหมึกสีแดง ในบทความนี้ จะนาเสนอจารึกตามสถานที่พบ ซึ่งกระจัดกระจายทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้มีการพบจารึกภาษามอญโบราณในหลายจังหวัด ได้แก่ จ.นครราชสีมา จ.มหาสารคาม จ.ชัยภูมิ จ.ขอนแก่น จ.กาฬสินธุ์ จ.อุดรธานี และ จ.สกลนคร บทความนี้จะอธิบายจารึกที่พบตามแต่ละสถานที่ พร้อมเสนอคาอ่านและคาแปลจารึกบางชิ้นเพื่อเป็นตัวอย่าง นอกจากนี้ มีจารึกบางชิ้นซึ่งถูกพบใหม่และผู้วิจัยยังไม่ได้ศึกษา พบที่ จ.เพชรบูรณ์ และ จ.นครพนม และยังมีจารึกภาษามอญโบราณอีกซึ่งพบในประเทศลาว
บทความนี้จะกล่าวถึงอุปสรรคบางเรื่องที่มีอยู่ในปัจจุบันเกี่ยวกับจารึกภาษามอญโบราณ อุปสรรคดังกล่าวเกี่ยวข้องกับสถานที่เก็บรักษาวัตถุโบราณในสมัยปัจจุบัน และระบบทะเบียนของพิพิธภัณฑ์ ท้ายบทความนี้ปรากฏรายชื่อจารึกทั้งหมดที่ได้ศึกษาในงานวิจัย วัตถุโบราณที่นามาศึกษามีจานวน 62 ชิ้น ซึ่งมีจานวน 36 ชิ้นที่ยืนยันได้แล้วว่าเขียนเป็นภาษามอญโบราณ อีก 24 ชิ้นพิจารณากันว่าอาจเขียนเป็นภาษามอญโบราณ และอีก 2 ชิ้นเคยมีการกล่าวกันว่าเป็นภาษามอญโบราณ แต่ในงานวิจัยนี้ได้พิจารณาว่าอาจเขียนเป็นภาษาสันสกฤต
The Lakkhaṇa Pi text was originally composed around one hundred year ago by a Mon monk who was serving as abbot of a Mon temple in Thonburi. Later, he moved to be the abbot of a Mon temple at Pak Kret, in Nonthaburi Province. That temple was a communication hub between Mon communities in central Thailand, which is the probable reason for the dissemination of the Lakkhaṇa Pi text among other communities, including the Mon community at Ban Muang, from where I obtained a copy of a manuscript. In the region of Ban Muang, the Lakkhaṇa Pi text is well known by the villagers, and is recited at various social functions, as well as being used as an educational text for novice monks.