เปร์เซโปลิส
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก แพร์ซโพลิส)
ที่ตั้ง | แมร์ฟแดชต์ จังหวัดฟอร์ส ประเทศอิหร่าน[1] |
---|---|
พิกัด | 29°56′04″N 52°53′29″E / 29.93444°N 52.89139°E |
ประเภท | ถิ่นฐาน |
ความเป็นมา | |
ผู้สร้าง | ดาริอุสมหาราช, เซอร์เซสมหาราช และอาร์ตาเซอร์เซสที่หนึ่ง |
วัสดุ | หินปูน, อิฐโคลน, ไม้ซีดาร์ |
สร้าง | 600 ปีก่อนคริสต์ศักราช |
สมัย | จักรวรรดิอะคีเมนิด |
วัฒนธรรม | เปอร์เซีย |
เหตุการณ์ |
|
หมายเหตุเกี่ยวกับสถานที่ | |
สภาพ | ซากปรักหักพัง |
ผู้บริหารจัดการ | กระทรวงมรดกวัฒนธรรม หัตถกรรม และการท่องเที่ยว ประเทศอิหร่าน |
การเปิดให้เข้าชม | เปิด |
สถาปัตยกรรม | |
รูปแบบสถาปัตยกรรม | อะคีเมนิด |
เปร์เซโปลิส * | |
---|---|
แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก | |
ซากพระราชวังอาเปอดาเนอ | |
พิกัด | 29°56′06.2″N 52°53′26.4″E / 29.935056°N 52.890667°E |
ประเทศ | อิหร่าน |
ภูมิภาค ** | เอเชียและแปซิฟิก |
ประเภท | มรดกทางวัฒนธรรม |
เกณฑ์พิจารณา | (i), (iii), (vi) |
อ้างอิง | 114 |
ประวัติการขึ้นทะเบียน | |
ขึ้นทะเบียน | 1979 (คณะกรรมการสมัยที่ 3) |
พื้นที่ | 12.5 เฮกตาร์ |
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก ** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก |
เปร์เซโปลิส (กรีกโบราณ: Περσέπολις; เปอร์เซียเก่า: 𐎱𐎠𐎼𐎿; เปอร์เซียใหม่: تخت جمشید) เป็นเมืองหลวงในนามของจักรวรรดิอะคีเมนิด (ประมาณ 550–330 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ตั้งอยู่ในที่ราบของเมืองแมร์ฟแดชต์ ซากปรักหักพังที่เก่าแก่ที่สุดที่มีการค้นพบมีอายุย้อนกลับไปถึง 515 ปีก่อนคริสต์ศักราช หมู่โบราณสถานแห่งเปร์เซโปลิสเป็นหลักฐานชิ้นสำคัญของสถาปัตยกรรมอะคีเมนิด ยูเนสโกประกาศให้ซากปรักหักพังแห่งเปร์เซโปลิสเป็นแหล่งมรดกโลกในปี 1979[2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Google maps. "Location of Persepolis". Google Maps. สืบค้นเมื่อ 24 September 2013.
{{cite web}}
:|last=
มีชื่อเรียกทั่วไป (help) - ↑ UNESCO World Heritage Centre (2006). "Pasargadae". สืบค้นเมื่อ 26 December 2010.