ภาคมะกเว
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก เขตมะกเว)
ภาคมะกเว မကွေးတိုင်းဒေသကြီး | |
---|---|
การถอดเสียงเป็นอักษรโรมัน | |
• พม่า | magwe: tuing: desa. kri: |
ที่ตั้งภาคมะกเวในประเทศพม่า | |
พิกัด: 20°15′N 94°45′E / 20.250°N 94.750°E | |
ประเทศ | พม่า |
ภูมิภาค | กลาง |
เมืองหลัก | มะกเว |
การปกครอง | |
• มุขมนตรี | อองโม่โญ (เอ็นแอลดี) |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 44,820.6 ตร.กม. (17,305.3 ตร.ไมล์) |
ประชากร (พ.ศ. 2557)[1] | |
• ทั้งหมด | 3,917,055 คน |
• ความหนาแน่น | 87 คน/ตร.กม. (230 คน/ตร.ไมล์) |
ประชากรศาสตร์ | |
• กลุ่มชาติพันธุ์ | พม่า, ชีน, ยะไข่, ไทใหญ่, กะเหรี่ยง |
• ศาสนา | พุทธ, คริสต์, อิสลาม, ฮินดู, วิญญาณนิยม |
เขตเวลา | UTC+6:30 (เวลามาตรฐานพม่า) |
รหัส ISO 3166 | MM-03 |
มะกเว[2] (พม่า: မကွေး) คือภาคหนึ่งในภาคกลางของประเทศพม่า มีเนื้อที่ประมาณ 17,306 ตารางไมล์ (44,820 ตารางกิโลเมตร)
อาณาเขตติดต่อ
[แก้]ภาคมะกเวมีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับรัฐชีนและภาคซะไกง์
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับภาคมัณฑะเลย์และดินแดนสหภาพเนปยีดอ
- ทิศใต้ ติดต่อกับภาคพะโค
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับรัฐยะไข่และรัฐชีน
การแบ่งเขตการปกครอง
[แก้]ภาคมะกเวแบ่งออกเป็น 7 จังหวัด ดังนี้
จังหวัด | อำเภอ | ||||
---|---|---|---|---|---|
อักษรไทย | อักษรพม่า | อักษรโรมัน | อักษรไทย | อักษรพม่า | อักษรโรมัน |
มะกเว | မကွေး | Magway | มะกเว | မကွေး | Magway |
ตอง-ดวี่นจี้ | တောင်တွင်းကြီး | Taungdwingyi | |||
มโหย่ติ | မြို့သစ် | Myothit | |||
นะเมาะ | နတ်မောက် | Natmauk | |||
มี่นบู้ | မင်းဘူး | Minbu | มี่นบู้ | မင်းဘူး | Minbu |
ปหวิ่น-พยู | ပွင့်ဖြူ | Pwintbyu | |||
งะแพ | ငဖဲ | Ngape | |||
ซะลี่น | စလင်း | Salin | |||
เซโดะตะยา | စေတုတ္တရာ | Sidoktaya | |||
ตะแยะ | သရက် | Thayet | ตะแยะ | သရက် | Thayet |
มี่นละ | မင်းလှ | Minhla | |||
มี่นโด้น | မင်းတုန်း | Mindon | |||
กานมะ | ကံမ | Kamma | |||
ปะโคะกู | ပခုက္ကူ | Pakokku | ปะโคะกู | ပခုက္ကူ | Pakokku |
เยซะโจ | ရေစကြို | Yesagyo | |||
มไยง์ | မြိုင် | Myaing | |||
เปาะ | ပေါက် | Pauk | |||
เซะพยู | ဆိပ်ဖြူ | Seikphyu | |||
กั่นกอ | ဂန့်ဂေါ | Gangaw | กั่นกอ | ဂန့်ဂေါ | Gangaw |
ที่ลี่น | ထီးလင်း | Tilin | |||
ซอ | ဆော | Saw | |||
เชาะ | ချောက် | Chauk | เชาะ | ချောက် | Chauk |
เยนานช่อง | ရေနံချောင်း | Yenangyaung | |||
อองลาน | အောင်လံ | Aunglan | อองลาน | အောင်လံ | Aunglan |
ซีน-บองแว | ဆင်ပေါင်ဝဲ | Sinbaungwe |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Census Report. The 2014 Myanmar Population and Housing Census. Vol. 2. Naypyitaw: Ministry of Immigration and Population. May 2015. p. 17.
- ↑ สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาพม่า (เมียนมา) ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2561. หน้า 24.